คลิกๆๆ รูปสวยๆน่ารักๆไว้ส่งต่อเพียบ...

วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วันศุกร์  30 พศจิกายน 2555

30 พศจิกายน 2555


 วันนี้เรียนเรียนเกี่ยวกับขอบข่าย/ขอบเขตของคณฯิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
       นิตยา ประพฤติกิจ ได้ให้ความหมายของขอบข่าย/ขอบเขตของคณฯิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ไว้ดังนี้
1. การนับ นับแล้วได้จำนวน แล้วนำสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ มาเขียนแทนค่าลำดับ/ตำแหน่ง
    การนับ หมายถึง การบวกเพิ่มขึ้นทีละ 1
2. ตัวเลข สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ใช้ัเพื่อเป็นการสื่อสารให้เข้าใจความหมายกัน
3. การจับคู่ จับคู่ได้ตากรูปร่าง รูปทรง จำนวน
4. จัดประเภท จำเป็นต้องกำหนดเกณฑ์ โดยการสอนเพียงทีละเรื่อง เพื่อไม่ให้เด็กเกิดการสับสน
5. การเปรียบเทียบ เริ่มจากการสังเกตุ เด็กเล็ก จะเริ่มจากการกะประมาณ/คาดเดา เพื่อดูความสัมพันธ์หาค่าของสิ่งของโดยการวัด แล้วนำไปเปรียบเทียบ ควรเปิดโอกาสให้เด็กเล็ก ได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง(ทฤษฎีของ เพียเจท์) โดยการเรียนรู้แบบ 1:1 เมื่อจับคู่สิ่งขิง 1:1 แล้วเหลือเศษแสดงว่าของสิ่งนั้นมากกว่าอีกสิ่งหนึ่ง  แล้วจึงค่อยนำสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์มาแทน เมื่อเด็กโตขึ้นเด็กจะเกิดการเรียนรู้แบบรูปธรรม คือ เด็กสามารถเรียนรู้โดยไม่ต้องผ่านการมองเห็น
               การนับ หมายถึงการนับแบบบวกทีละหนึ่ง
6. การจัดลำดับ หาค่า (ปริมาณ)  เปรียบเทียบ จัดลำดับโดยใช้ตัวเลขมาแทนค่านั้นๆ
7. รูปทรงและเนื้อที  ปริมาณ  ความจุ
8. การวัด การหาค่า/หน่วย โดยใช้เครื่องมือต่างๆ อย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ แต่เด็กจะใช้เครื่องมืออย่างไม่เป๋นทางการมากกว่า
9. เซต มีความสัมพันธ์เดียวกัน หรืออาจมีคุณสมบัติที่คล้ายกัน
10. เศษส่วน การที่แบ่งของทำให้เกิดของสองกลุ่ม เท่าๆกันเช่น เอาไปครึ่งหนึ่งของทั้งหมด หรือ 1 ส่วนของ 2 ส่วน
11. หารทำตามแบบ หรือทำตามลวดลสย บางอย่างเด็กต้องทำตามแบบซึ่งอยู่บนพื้นซานการเรียนรู้
                 11.1 การเรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมหัสทั้ง 5 โดยเด็กจะเป็นผู้ลงมือกระทำด้วยตนเอง
                 11.2 ต้องมีอิสระให้เด็กเลือกและตัดสินใจเอง
12. การอนุรักษ์ หรือการคงที่ด้านปริมาณ เด็กเล้ฏจะเรียนรู้เป็นรูปธรรม เมื่อโตขึ้นจะเป็นการเรียนรู้แบบกึ่งนามธรรม และนำไปสู่การเรียนรู้แบบนามธรรมในที่สุด

         เยาวภา เตชะคุปด์ ได้ให้ความหมายของขอบข่าย/ขอบเขตของคณฯิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ไว้ดังนี้
1. การจัดกลุ่มหรือเซต การจับคู่ 1:1
2. จำนวน 1-10 การนับจำนวนคู่ กับจำนวนคี่
3. ระบบจำนวน
4. ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ
5. คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากกลุ่ม
6. ลำดับทีี่
7. การวัด เงินตรา อุณหภูมิ ขนาด ยำหยัก
8. รูปทรงเรขาคณิต  การเปรียบเทีย รูปร่าง ขนาด
9. สถิติและกราฟ การศึกษาจากการบันทึก การแสดงซึ่งนำไปลู่การเปรียบเทียบ

วันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วันศุกร์ 23 พฤศจิกายน 2555
                  
                    
                                                                                           23 พศจิกายน 2555 





วันนี้เนื่องจากเป็นวันกีฬาสีภายในคณะ ศึกษาศาสตร์ จึงไม่มีการเรียนการสอน

วันศุกร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วันศุกร์  16 พฤศจิกายน 2555
                                                                                        

16 พฤศจิกายน 2555
     


 วันนี้อาขารย์ได้ให้นักศึกษาจับกลุ่มๆละ 3 คน แล้วให้ คนใดคนหนึ่งภายในกลุ่มวลับกลุ่มใหม่เพื่อให้นักศึกษาได้ทำงานร่วมกับเพื่อนคนอื่น นอกจากเพื่อนภายในกลุ่มของเรา
       อละพูดถึงการซ่อมการอบรมบุคลิกภาพให้ไปอบรม ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 ตั้งแต่ บ่ายโมงตรง ที่หอประชุมใหญ่ของมหาวิทยาลัย

วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วันศุกร์   9 พฤศจิกายน 2555
                                                                                                          
 9
 พฤศจิกายน 2555



       ได้ให้นักศึกษาเชื่อมโยง/ลิงก์บล็อคของตนเองไปยังบล๊อคของอาจารย์       ส่วนใหญ่เด็กจะเรียนรู้ผ่านสิ่งที่เด็กมองเป็นมากกว่า สิ่งที่มองไม่เห็น

วันศุกร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

2 พฤศจิกายน 2555

ก่อนอาจาร์จะสอนอาจารย์วางข้อตกลงในการเข้าเรียนเรื่องเครื่องแต่งกายการเข้าเรียนห้องเรียนสาย

อาจารย์ตั้งคำถามให้นักศึกษาตอบในกระดาษที่อาจารย์แจกให้
-คำถามทบทวนเรื่องวิชาคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยคืออะไร
-อธิบายเรื่องพฤติกรรมของพัฒนาการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปตามลำดับขั้นตอนและต่อเนื่อง

อธิบายถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
-ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่ เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติปัญญาด้วยการกระทำ เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูด เด็กจะต้องมีโอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับพัฒนาการด้านสติปัญญาและความคิดในขั้นนี้ มีความคิดความเข้าใจของเด็กจะก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เช่น สามารถประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อมือ และสายตา เด็กในวัยนี้มักจะทำอะไรซ้ำบ่อยๆ เป็นการเลียนแบบ พยายามแก้ปัญหาแบบลองผิดลองถูก 

Waving Hello Kitty Kaoani