วันศุกร์ 30 พศจิกายน 2555
30 พศจิกายน 2555
วันนี้เรียนเรียนเกี่ยวกับขอบข่าย/ขอบเขตของคณฯิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
นิตยา ประพฤติกิจ ได้ให้ความหมายของขอบข่าย/ขอบเขตของคณฯิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ไว้ดังนี้
1. การนับ นับแล้วได้จำนวน แล้วนำสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ มาเขียนแทนค่าลำดับ/ตำแหน่ง
การนับ หมายถึง การบวกเพิ่มขึ้นทีละ 1
2. ตัวเลข สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ใช้ัเพื่อเป็นการสื่อสารให้เข้าใจความหมายกัน
3. การจับคู่ จับคู่ได้ตากรูปร่าง รูปทรง จำนวน
4. จัดประเภท จำเป็นต้องกำหนดเกณฑ์ โดยการสอนเพียงทีละเรื่อง เพื่อไม่ให้เด็กเกิดการสับสน
5. การเปรียบเทียบ เริ่มจากการสังเกตุ เด็กเล็ก จะเริ่มจากการกะประมาณ/คาดเดา เพื่อดูความสัมพันธ์หาค่าของสิ่งของโดยการวัด แล้วนำไปเปรียบเทียบ ควรเปิดโอกาสให้เด็กเล็ก ได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง(ทฤษฎีของ เพียเจท์) โดยการเรียนรู้แบบ 1:1 เมื่อจับคู่สิ่งขิง 1:1 แล้วเหลือเศษแสดงว่าของสิ่งนั้นมากกว่าอีกสิ่งหนึ่ง แล้วจึงค่อยนำสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์มาแทน เมื่อเด็กโตขึ้นเด็กจะเกิดการเรียนรู้แบบรูปธรรม คือ เด็กสามารถเรียนรู้โดยไม่ต้องผ่านการมองเห็น
การนับ หมายถึงการนับแบบบวกทีละหนึ่ง
6. การจัดลำดับ หาค่า (ปริมาณ) เปรียบเทียบ จัดลำดับโดยใช้ตัวเลขมาแทนค่านั้นๆ
7. รูปทรงและเนื้อที ปริมาณ ความจุ
8. การวัด การหาค่า/หน่วย โดยใช้เครื่องมือต่างๆ อย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ แต่เด็กจะใช้เครื่องมืออย่างไม่เป๋นทางการมากกว่า
9. เซต มีความสัมพันธ์เดียวกัน หรืออาจมีคุณสมบัติที่คล้ายกัน
10. เศษส่วน การที่แบ่งของทำให้เกิดของสองกลุ่ม เท่าๆกันเช่น เอาไปครึ่งหนึ่งของทั้งหมด หรือ 1 ส่วนของ 2 ส่วน
11. หารทำตามแบบ หรือทำตามลวดลสย บางอย่างเด็กต้องทำตามแบบซึ่งอยู่บนพื้นซานการเรียนรู้
11.1 การเรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมหัสทั้ง 5 โดยเด็กจะเป็นผู้ลงมือกระทำด้วยตนเอง
11.2 ต้องมีอิสระให้เด็กเลือกและตัดสินใจเอง
12. การอนุรักษ์ หรือการคงที่ด้านปริมาณ เด็กเล้ฏจะเรียนรู้เป็นรูปธรรม เมื่อโตขึ้นจะเป็นการเรียนรู้แบบกึ่งนามธรรม และนำไปสู่การเรียนรู้แบบนามธรรมในที่สุด
เยาวภา เตชะคุปด์ ได้ให้ความหมายของขอบข่าย/ขอบเขตของคณฯิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ไว้ดังนี้
1. การจัดกลุ่มหรือเซต การจับคู่ 1:1
2. จำนวน 1-10 การนับจำนวนคู่ กับจำนวนคี่
3. ระบบจำนวน
4. ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ
5. คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากกลุ่ม
6. ลำดับทีี่
7. การวัด เงินตรา อุณหภูมิ ขนาด ยำหยัก
8. รูปทรงเรขาคณิต การเปรียบเทีย รูปร่าง ขนาด
9. สถิติและกราฟ การศึกษาจากการบันทึก การแสดงซึ่งนำไปลู่การเปรียบเทียบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น